Original Language
Thai
ISBN (PDF)
978-92-9268-631-4
Number of Pages
62
Reference Number
PUB2023/112/R
Year of Publication
2021

Operational guidelines for Businesses on Remediation of Migrant-worker Grievances (Thai)

คู่มือเชิงปฏิบัติสำ หรับธุรกิจ ในการแก้ไขเยียวยาการร้องทุกข์ของแรงงานข้ามชาติ
Also available in:

คู่มือเชิงปฏิบัติสำหรับธุรกิจในการแก้ไขเยียวยาการร้องทุกข์ของแรงงานข้ามชาติฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อช่วยให้บริษัทและกลุ่มอุตสาหกรรมจัดตั้งโครงการตามความสมัครใจ เพื่อแก้ไขเยียวยาการร้องทุกข์ของแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดการประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนของแรงงานข้ามชาติในห่วงโซอุปทานระหว่างประเทศ เมื่อพิจารณาถึงจำนวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมหรือภูมิภาคต่าง ๆ คู่มือฯ นี้มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่สามอันได้แก่ องค์กรระหว่างประเทศ องค์การนอกภาครัฐ(NGO) องค์กรชุมชน (CBO) องค์กรภาคประชาสังคม (CSO) และกลุ่มแรงงาน

ข้อเสนอแนะในคู่มือฯ ฉบับนี้ มีพื้นฐานมาจากอุตสาหกรรมและแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดระดับสากลเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายและยกระดับสิทธิมนุษยชน อันได้แก่ หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ (United Nation’s Guiding Principles on Business and Human Rights - UNGPs) ตามข้อมูลของ UNGPs ธุรกิจทุกประเภทสามารถยกระดับและเคารพสิทธิมนุษยชนของแรงงานได้ โดยการจัดตั้งหรือเข้าร่วมแผนการแก้ไขเยียวยาที่เสนอแนวทางการเยียวยาแก่แรงงานที่ได้รับผลกระทบ

The Operational Guidelines for Businesses on Remediation of Human Rights Grievances (the “Guidelines”) are created to primarily help companies and industry groups to develop voluntary programmes to remediate worker grievances, especially with regard to addressing human rights concerns of migrant workers in international supply chains. Given the number of stakeholders involved in any particular industry or region, the Guidelines are also relevant to the work of other interested third parties, including International Organizations, Non-Government Organizations (NGOs), community-based organizations (CBOs), civil society organizations (CSOs) and worker groups. 

The recommendations provided by these Guidelines are grounded in industry and international best practices for compliance and advancement of human rights, including the United Nation’s Guiding Principles on Business and Human Rights (“UNGPs”).  According to the UNGPs, all types of businesses can advance and support the human rights of its workers by establishing or participating in a remediation programme that offers remedies and resolution to affected workers.

 

  • สารบัญ
  • คำ นำ
  • บทนำ
  • วัตถุประสงค์ของคู่มือฯ 
  • แผนการแก้ไขเยียวยา: คำ จำ กัดความและเป้าหมาย 
  • หลักเกณฑ์การตรวจสอบการแก้ไขเยียวยาที่มีประสิทธิภาพ 
  • หลักการชี้แนะเรื่องการดำ เนินธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
  • คู่มือเชิงปฏิบัติสำ หรับแผนการแก้ไขเยียวยาที่มีประสิทธิภาพ 
    •  ขั้นตอนที่ 0: การสร้างความไว้วางใจ 
    • ขั้นตอนที่ 1: การยื่นและรับเรื่องร้องทุกข์ 
    • ขั้นตอนที่ 2: การตรวจสอบคำ ร้องทุกข์ 
    • ขั้นตอนที่ 3: การสอบสวนเรื่องร้องทุกข์และพิจารณาวิธีการจัดการ 
    • ขั้นตอนที่ 4: การชดใช้เยียวยาการร้องทุกข์ (วางแผนปฏิบัติการเพื่อดำ เนินการแก้ไข) 
    • ขั้นตอนที่ 5: การดำ เนินการและติดตามผลการแก้ไขเยียวยา
    • ขั้นตอนที่ 6: การยุติข้อร้องทุกข์ 
    • ขั้นตอนที่ 7: การรวมข้อคิดเห็นเข้ากับกระบวนการทำ งานและประเมินผล 
  • นโยบายหลักสำ หรับแผนการแก้ไขเยียวยาที่มีประสิทธิภาพ 
  • บทสรุป 
  • ภาคผนวก 1: กฎหมายที่บังคับใช้ในมาเลเซีย 
    •  กฎหมายของมาเลเซีย: แนวทางการแก้ไขเยียวยาและติดตามผล 
      • a. พระราชบัญญัติปราบปรามการค้ามนุษย์และลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่ นฐาน ค.ศ. 2007
      • b. รัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรัฐมาเลเซีย 
      • c. ประมวลกฎหมายอาญา (พ.ร.บ. 574) และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (พ.ร.บ. 593) 
      • d. กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 
  •  ระบบรัฐของประเทศมาเลเซีย 
  • ภาคผนวก 2: แรงงานข้ามชาติในมาเลเซีย 
    • ข้อมูลประชากรของแรงงานข้ามชาติ 
    • แรงงานบังคับในมาเลเซีย 
  • ภาคผนวก 3: แรงงานข้ามชาติและอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มในมาเลเซีย 
    • ข้อควรพิจารณาสำ หรับแผนการแก้ไขเยียวยาในอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มของมาเลเซีย 
  • ภาคผนวก 4: แรงงานข้ามชาติและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในมาเลเซีย 
    • ข้อควรพิจารณาสำ หรับแผนการแก้ไขเยียวยาในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของมาเลเซีย แหล่งข้อมูลเพิ่
  • มเติม: บรรณานุกรม 
    • แหล่งข้อมูลสำ คัญ 
    • กรณีศึกษาเรื่องการเยียวยาและการติดตามตรวจสอบ 
    • แนวทางที่เหมาะกับเพศสภาพ 
  • ข้อมูลอ้างอิง